หนังสือพิมพ์ ข่าวแห่งยุคอนาล็อค
หนังสือพิมพ์คือสิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวและการเคลื่อนไหวใหม่ๆไม่ว่าจะเป็นไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอกประเทศ มีการกำหนดการออกตายตัว ส่วนใหญ่จะออกเป็นรายวัน
ประวัติของหนังสือพิมพ์มีมาเมื่อ60ปีก่อนของศริสต์ศักราช ยุคอนาจักรโรมันที่อารยธรรมเจริญแล้วโดยจักรพรรดิจูเรียจซีซาร์บัญชาให้อาลักษณ์คัดลอกแถลงการณ์ของพระองค์ รวมถึงข่าวประจำวันของราชการแล้วนำไปปิดไว้ตามกำแพงในที่ชุมชนเพื่อชุมชนได้อ่านทั่วถึงใบประกาศนั้นเรียกว่า แอ็กตา ดิอูนา นับว่าเป็นต้นแบบของหนังสือพิมพ์ ขณะทางตะวันออก ในประเทศจีนได้กำเนิด หนังสือพิมพ์ซิงเปาตั้งแต่ พ.ศ. 1043
โดยเดลินิวส์วิฒนาการของหนังสือพิมพ์ในประเทศไทย เริมตั้งแต่สมัยรัชกาลที่3เป็นหนังสือพิมพ์ข่าวรายปักษ์ชื่อ บางกอกรีคอร์เดอร์ มีอายุได้ไม่เกิน2ปีก็ปิดกิจการลง
ต่อมารัชกาลที่4ทรงเป็นผู้จัดทำหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทยชื่อ ราชกิจจานุเบกษาเพื่อชีแจงข่าวคลาดเคลื่อนที่ตีพิมพ์ของหนังสือหมอรัดเลย์ และเพื่อแจ้งข่าวการบริหารทางราชกิจทางการเมือง
ต่อมารัชกาลที่5เริมมีหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแรกเพื่อเผยแพร่สู่ประชาชนชื่อ ดรุโนวาท เป็นยุคที่หนังสือพิมพ์ตื่นตัวมากที่สุดโดยมีการออกหนังสือพิมพ์59ฉบับ
สมัยรัชกาลที่6ยุคหนังสือพิมพ์ก้าวหน้ามากไปจนถึงรัชกาลที่7 มีหนังสือพิมพ์ถึง55ฉบับ มีชื่อเสียงและมีความน่าเชื่อถือมากที่สุดชื่อ หนังสือพิมพ์ประชาชาติ
ต่อมาสมัยรัชกาลที่8จนถึงปัจจุบัน หนังสือพิมพ์เริมถูกควบคุมโดยรัฐบาล ในยุคนี้มีหนังสือพิมพ์31ฉบับเช่น หนังสือพิมพ์เกียรติศักดิ์ (2495-2513) เดลินิวส์ (2507-ปัจุจบัน) เดลิเมย์ (2493-2501) ไทยรัฐ (2492-ปัจจุบัน) ไทยเดลี่ (2512) แนวหน้า (2495-2506) ประชาธิปไตย (2502) พิมพ์ไทย (2489) สยามนิกร (2481-2512) สารเสรี (2497-2508) สยามรัฐ (2493) เสียงอ่างทอง (2500-2507) และหนังสือพิมพ์อณาจักรไทย (2501-2504) เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น